Monday 14 September 2015

Social Sciences Journal Club
ครั้งที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2558


ยินดีต้อนรับทุกท่านสู่ Journal Club ของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

เวทีเสวนาเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางวิชาการภาษาอังกฤษครั้งที่ 6 นี้ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจศึกษางานเขียนของนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ที่ชื่อว่า Vinayak Chaturvedi  ในงานเขียนชิ้นสำคัญเรื่อง "Peasant Pasts: History and Memory in Western India" นำเสวนาโดยกลุ่มนิสิตปริญญาเอกสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 



การเสวนาจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 23 กันยายน 2558 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เวลา 17.00 น. เป็นต้นไป 

ในการมาร่วมเสวนา Journal Club นั้นผู้สนใจจะต้องร่วมอ่านงานชิ้นนี้มาก่อน ซึ่งในครั้งนี้บังคับให้อ่านส่วน Introduction มาเป็นอย่างน้อย และท่านสามารถดาวน์โหลดหนังสือได้ที่ http://www.mediafire.com/view/9nfas49f9bg9g82/Vinayak%2C_Peasant_Pasts.pdf 



Vinayak Chaturvedi เป็นรองศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์จากภาควิชาประวัติศาสตร์ ที่ University of California, Irvine

เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้ 
Peasant Pasts is an innovative, interdisciplinary approach to writing histories of peasant politics, nationalism, and colonialism. Vinayak Chaturvedi's analysis provides an important intervention in the social and cultural history of India by examining the nature of peasant discourses and practices during the nineteenth and twentieth centuries. Through rigorous archival study and fieldwork, Chaturvedi shows that peasants in Gujarat were active in the production and circulation of political ideas, establishing critiques of the state and society while promoting complex understandings of political community. By turning to the heartland of M.K. Gandhi's support, Chaturvedi shows that the vast majority of peasants were opposed to nationalism in the early decades of the twentieth century. He argues that nationalists in Gujarat established power through the use of coercion and violence, as they imagined a nation in which they could dominate social relations. Chaturvedi suggests that this littletold story is necessary to understand not only anticolonial nationalism but the direction of postcolonial nationalism as well. 

(ที่มา: http://www.ucpress.edu/book.php?isbn=9780520250789) 

-------------------------------------------------------------
ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ทางสังคมศาสตร์โดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, หน่วยนวัตกรรมสังคม และสำนักทฤษฎีและปฏิบัติการทางสังคม